วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การออกแบบอัตลักษณ์

แบบทดสอบปฏิบัติปลายภาคเรียนวิชาออกแบบอัตลักษณ์
10 คะแนน เวลา 2.30 ชั่วโมง
จงอ่านภาระงานออกแบบให้ละเอียดและดำเนินการออกแบบตามโจทย์ให้ครบถ้วน
Job Type : Logo Design
ภาระงาน (Task Outline ) : การออกแบบอัตลักษณ์ - ข้าวจันทรเกษม (Chandrakasem Rice)
เนื้อหา/เรื่องราวที่กำหนด(Subject/Content Title) : เป็นข้าวสีแล้วพันธุ์ต่างๆที่ทดลองปลูก จากนาเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จังหวัดชัยนาท ( Organic Rice Field)
รูปลักษณ์ผลงานที่ต้องการ (Task Description)
1.ต้องการให้ออกแบบโลโก้ทั้งภาษาไทย-และภาษาอังกฤษ ที่โดดเด่นจดจำง่าย มีสีอย่างน้อย 2 สี โดยให้ใช้กราฟิกอัตลักษณ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย มาประกอบใช้ให้เหมาะสม เป็นเอกลักษณ์ร่วม รวม 2 แบบ
2.ทำลงในกระดาษขนาด เอ 4 เว้นกรอบรอบ 0.5 นี้ว โดยออกแบบทั้งสีและขาวดำพร้อมกำหนดขนาดสัดส่วนโครงสร้างมาตรฐานและระบุสีที่ต้องใช้อย่างน้อย 1 ระบบสี ตามมาตรฐานสากล ไว้ทั้ง 2 แบบ พร้อมอธิบายแนวคิดในการออกแบบ
3.นำเสนอตัวอย่างการนำไปใช้จริงทั้ง 2 แบบ โดยนำโลโก้ไปใช้พิมพ์เสื้อยืดแจกในวันเปิดร้านขายข้าว

ข้อมูลอ้างอิงและResource เชิญที่่.
http://www.chandrakasem.info
https://sites.google.com/site/corporateidentitydesign

ต้นแบบงานที่ต้องการ(Production/Artwork)
1.ไฟล์อาร์ตเวิร์ค สีและขาวดำทั้ง 2แบบ บันทึกเป็นไฟล์ .ai และ .jpg รวมส่ง 4 ไฟล์
ตัวอย่างการตั้งชื่อ-บันทึกไฟล์ส่ง ชื่อตัว-ชื่องานและหมายเลข-เลขกลุ่มเรียน.สกุลไฟล์ เช่น
1.1 prachid-chandralogo001-101.ai
1.2 prachid-chandralogo001-101.jpg
2.ภาพแสดงรูปลักษณ์ผลงาน 3 มิติ คล้ายแบบของจริง
จัดส่งไฟล์ลงในโฟลเดอร์ที่แชร์ให้ พร้อมรายงานแจ้งส่งเรียบร้อยแล้ว ทางอีเมลไปที่ prachid2010@gmail.com
แบบที่ 1ข้าวจันเกษม
แบบที่2ข้าวจันทรเกษม




























วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 13 ( 19 พฤศจิกายน 2557 )


แหล่งที่มาเข้าไปกดติดตามผศ. ประชิด ทิณบุตร http://issuu.com/prachi  มีหนังสือมากมายโดยใน ISSUU จะ
ทำงานด้วยระบบ following เพื่อไว้ติดตามนิตยสารหัวต่างๆ โดยทุกหัวที่เรา follow ไว้จะไปปรากฎทั้งหมดอยู่ในหน้า feed แถวบน ซึ่งแต่ละที่ก็จะมีใส่รายละเอียดของนิตยสารไว้ ประกอบการตัดสินใจให้คุณ follow ถ้าคุณหาดีๆ นิตยสารฟรีพวกนี้ มีเนื้อหาที่น่าสนใจและแน่นกว่านิตยสารเล่มละเกือบร้อยในบ้านเราซะอีกขอยืนยันว่า ISSUU คือเว็บที่คนรุ่นใหม่ต้องสมัครไว้ใช้งาน เพราะการอ่านคือการเปิดโลกเล็กๆของเราได้จริงๆ อย่าพลาดโอกาสที่จะสัมผัสโลกภายนอกว่าเขาไปถึงไหนกันแล้วถ้าเราชอบหนังสือเล่มไหนสามารถดาวโหลดเก็บไว้ได้เพื่อไว้อ่านข้อมูลที่เราสนใจ
ขอขอบคุณ ผศ.ประชิด ทิณบุตร

วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 12 ( 12 พฤศจิกายน 2557)

Home:Art Thesis:ศิลปนิพนธ์ สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กทม.
ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่นี่https://sites.google.com/site/artthesis/Home
เวลานำเสนองานส.1ต้องเห็นการทำงานให้แตกต่างอย่างไรเกี่ยวกับกราฟฟิกลวดลายที่เกี่ยวข้องสืบค้นกลุ่มลูกค้าว่าจะเจาะลูกค้ากลุ่มไหนใส่บาโค้ดสินค้าเพื่อเราจะสามารถขายได้ทุกที่บนห้างส่วนที่สรุปในมูดบอร์ดส่วนรายละเอียดย่อยๆควรใส่ไว้ในรายงานขยายออกมาว่าใช้อะไรบ้าง ฟอนต์ที่ใช้หายๆ ขนาดผลิตภัณฑ์ที่ใช้เกี่ยวกับข้าว มีความหมาย การจับคู้สี การวางตำแหน่งของแบรนด์ สร้างอัตลักษณ์ให้น่าสนใจเเละมีความโดดเด่นให้เกับแบรนด์สิ่งที่ควรทำ สเก็ตอัพ ที่มาของคู่แข่ง ทำกี่แบบใส่รายละเอียด ฉลากควรมี3แบบเพื่อเลือก ถ่ายรูปข้าวมาเป็นสต็อก ลงแชร์ไว้ในไดร์ สิ่งที่ทำคือวัตถุประสงค์โครงการนำเสนองานวันที่  3 ธันวาคม สรุปมูดบอร์ดขนาด 20x30นิ้ว ส1ส2ส3 เวลา9.00น














































ขอขอบคุณ ผศ. ประชิด ทิณบุตร


วันอาทิตย์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 11 ( 5 พฤศจิกายน 2557)

ต้องใส่ขนาดในไฟล์ภาพทุกครั้งวิเคราะห์งานและการสร้างสรรค์การจัดแหน่งเป็นอย่างไรการมาคควรเป็นเส้นสีดำและมีขนาดเล็กที่สุดคิดคำโฆษณาสโลแกนเป็นการเอาใจใส่ของผู้เรียนภาพในการที่จะสั่งพิมพ์ควรมีขนาดของภาพกำกับไว้ด้านนอกด้วยการออกแบบกราฟฟิกเพื่ออำนวยความสะดวกต่อการเห็นระยะต่างๆในการวางสินค้าการสื่อสารกับลูกค้าสิ่งที่เป็นอัตลักษณ์ของตนเองการแข่งขันทางด้านกราฟฟิกมีการแข่งขันสูงควรมีคอนเสปในการนำเสนอผลงานเขียนคำอธิบายการถ่ายภาพมุมมองข้าวเพื่อนำเสนอควรถ่ายเก็บไว้เป็นล็อตๆค่าสร้างสรรค์ผลงาน 50% กราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ควรมีภาพประกอบเพื่อสื่อความเข้าใจกับลูกค้าอาจารย์ดูที่การสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา 80%การนำเสนองานภายใต้แบรนด์มุสไรซ์เพื่อเป็นทางเลือกอีกทางให้กับมุสลิม





























วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 10 (27 ตุลาคม 2557)

ให้นักศึกษาประวัติหาข้อมูลของสิ่งที่จะทำโดยละเอียดเพื่อนำมาอ้างอิงได้ในการนำเสนอโดนศึกษาของจริงต้องมีที่มาในการออกแบบทุกครั้งเป็นของเราเองต้องสรุปการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวส่วนประกอบเมล็ดข้าว ศึกษาแบรนด์คู่แข่ง เพื่อสร้างแบรนด์ของเราเอง
หาข้อมูล ส.1 สืบค้นเพื่อนำเสนอโดยมีชื่อแบรนด์ บรรจุภัณฑ์ หาโอกาศ













































เมล็ดข้าวประกอบด้วย เปลือกหุ้มเมล็ดหรือแกลบ (Hull หรือ Husk) ซึ่งจะหุ้มข้าวกล้อง ในเมล็ดข้าวกล้องประกอบด้วย จมูกข้าว หรือคัพภะ (Embryo หรือ Germ) รำขาว และเมล็ดข้าวขาวหรือเมล็ดข้าวสาร (Endosperm) ดังรูป ส่วนคุณค่าทางโภชนาการ แร่ธาตุต่างๆ และวิตามินมีอยู่มากมายในทุกส่วนของเมล็ดข้าว
1. แกลบ ประกอบไปด้วย โปรตีน ไขมัน เยื่อใย คาร์โบไฮเดรต เถ้า สารซิลิกา แคลเซียม ฟอสฟอรัส ลิกนิน เซลลูโลส เพนโตแซน เฮมิเซลลูโลส และอื่นๆ (ตารางที่ 1) เราสามารถนำแกลบไปใช้งานได้หลายอย่าง เช่น ทำปุ๋ยใส่ต้นไม้ นำไปเผาใช้เป็นพลังงานความร้อนได้ เป็นขี้เถ้าใช้ทำสบู่หรือใส่ในนาข้าวเพื่อปรับสภาพดิน และช่วยลดการทำลายของโรคและแมลงศัตรูข้าว ใช้ผสมดินเหนียวเป็นส่วนประกอบของอิฐ ฯลฯ
2. ข้าวกล้อง เมื่อนำข้าวกล้องมาขัดเอาผิวออกจะได้รำหยาบและจมูกข้าว (5 – 8 %), รำละเอียดและจมูกข้าว (2 – 3 %) และข้าวสาร (60 -73 %) องค์ประกอบหลักของเมล็ดข้าวคือ คาร์โบไฮเดรตหรือแป้งข้าว (Starch)
3. คาร์โบไฮเดรตหรือแป้งข้าว ข้าวจะมีแป้งอยู่ 90 % ของน้ำหนักแห้ง เม็ดแป้ง 20 – 60 เม็ดอัดรวมกันอยู่ในอมิโลพลาสและล้อมรอบเม็ดแป้งด้วยโปรตีน แป้งข้าวสามารถแยกออกเป็นองค์ประกอบย่อย 2 ชนิด ได้แก่ อมิโลเปคติน (Amylopectin) และอมิโลส (Amylose)
4. โปรตีน เมล็ดข้าวมีส่วนประกอบของโปรตีนอยู่ประมาณ 4.3 – 18.2 % หรือเฉลี่ย 9.5 % เป็นอันดับสองรองจากแป้ง ปริมาณโปรตีนที่พบในเมล็ดข้าวมีความแปรปรวนขึ้นอยู่กับสถานที่ปลูกและสภาพแวดล้อม

5. ไขมัน ไขมันที่อยู่ในเมล็ดข้าวมักจะอยู่ในสภาพเป็นหยดไขมันเล็กๆ ขนาดเล็กกว่า 1.5 ไมครอนอยู่บริเวณเยื่อหุ้มผิวเมล็ด (รำหยาบและรำละเอียด) และจมูกข้าว (คัพภะ) เมล็ดข้าวมีไขมัน 1.6 – 2.8 % ส่วนใหญ่อยู่ในรำข้าว ไขมันที่ได้จากข้าวเป็นไขมันชนิดที่มีคุณภาพดี โดยมีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง (Linoleic acid, Oleic acid และPalmitic acid) มีสารแกมม่า ออไรซานอล (Gamma Oryzanol) ช่วยในการควบคุมระดับโคเลสเตอรอลในเส้นเลือด และช่วยในการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ เด็กแรกเกิด และเด็กเล็ก